วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

ศาสนาคริสต์

ศาสนาคริสต์

        ศาสนาคริสต์กำเนิดขึ้นภายหลังพุทธศาสนา 543 ปี ณ ดินแดนประเทศปาเลสไตล์ปัจจุบัน ซึ่งศาสนาคริสต์นี้จะสืบทอดมาจากศาสนายูดาห์ หรือศาสนายิว โดยศาสนายูดาห์จะเชื่อว่ามีพระเมสิอาห์หรือพระคริสต์มาเกิดเพื่อช่วยเหลือชาวยิวที่ถูกกดขี่ครอบงำอยู่ในขณะนั้น... อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาคริสต์

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา


ความหมายของศาสนา

          พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า “ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็น...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ

หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ
     พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ ๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย จนแยกกันไม่ออก ความเจริญหรือความเลื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทย พวกเราชาวพุทธจึง...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ

พุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง


พระอานนท์
   ประวัติ
    พระอานนท์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ พระอนุชาของพระเจ้าสุทโธทนะ พระมารดาพระนามว่า กีสาโคตมี ท่านจึงเป็นพระอนุชาของพระพุทธเจ้า ท่านออกบวชพร้อมกับ เจ้าชายภัททิยะ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายเทวทัต กับนายภูษามาลา ชื่อว่า อุบาลี

หลังจากบวชแล้ว ท่านได้ฟังโอวาทของพระปุณณมันตานีบุตร ได้บรรลุโสดาปัตติผล และได้มารับหน้าที่ พุทธอุปัฏฐาก ปรนนิบัติพระพุทธเจ้า จนกระทั่ง...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระอานนท์

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

          การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์  ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการ... อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การบริหารจิตและเจริญปัญญา

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
  
      เป็นคัมภีร์หรือตำราทางพระพุทธศาสนา  ซึ่งรวบรวมคำสั่งสอนของ พระพุทธเจ้า  ไว้เป็นหมวดหมู่   แบ่งออกเป็น 3 ปิฎก ด้วยกันคือ
   1.  พระวินัยปิฎก  ว่าด้วยวินัยหรือศีลของ ภิกษุและภิกษุณี
   2.  พระสุตตันตปิฎก  ว่าด้วยพระธรรมเทศนาโดยทั่วไป มีประวัติและท้องเรื่องประกอบ
   3.  พระอภิธรรมปิฎก   ว่าด้วยธรรมะล้วน  ไม่มี...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
  
     พระรัตนตรัย คือแก้วอันประเสริฐ (ของชาวพุทธ) 3 ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
พระพุทธ     คือ ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม
พระธรรม     คือ  คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
พระสงฆ์     คือ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี


หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา      
         1) วันมาฆบูชา
 วันมาฆบูชา คือ การบูชาในเดือนมาฆะ คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นคือการประชุมสงฆ์โดยมิได้นัดหมายกันที่เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ 2. พระภิกษุ 1,250 องค์ มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย 3. ภิกษุเหล่านั้น ล้วนเป็นพระอรหันต์ 4. ได้รับการบวชจาก... อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

พุทธประวัติและชาดก


 หลักการสอนของพระพุทธเจ้า
 พระพุทธเจ้าเมื่อจะทรงสอนใครแต่ละครั้ง พระองค์ก็ทรงอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง ในการสอนบุคคลระดับต่างๆ ที่มีพื้นฐานความรู้ สติปัญญาที่แตกต่างกัน พระองค์ได้ประยุกต์คำสอนแต่ละลักษณะให้มีความเหมาะสม เป็นการสอนที่แสดงถึงพุทธลีลาของ... อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการสอนของพระพุทธเจ้า

ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา

๑.๑ พระพุทธศาสนามีทฤษฎี และวิธีการที่เป็นสากล

1. หลักธรรมที่เป็นสากล เป็นหลักธรรมที่สามารถถือประพฤติปฏิบัติได้ทุกชาติ ทุกภาษา ทุกชนชั้นของสังคม หากประพฤติปฏิบัติตามก็จะสามารถดำรงชีวิตอยู่ในโลกนี้ได้อย่างสันติสุข โลกเกิดความสงบ ไม่เบียดเบียนทำร้ายซึ่งกันและกัน ไม่ก่อให้เกิดสงครามซึ่งส่งผลเสียหายต่อ... อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา